ชนิดของฟังก์ชัน

• ฟังก์ชันจาก A ไป B
         f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนคือเซต A และเรนจ์เป็นสับเซตของเซต B เขียนแทนด้วย f : A B
• ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B
         f เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซต A และเรนจ์เป็นของเซต B เขียนแทนด้วย f : A   B
• ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B
         f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B ซึ่งถ้า y f 
แล้วมี x Df เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่ทำให้ (x,y) f เขียนแทนด้วย f : B
         หรืออาจกล่าวอย่างง่ายๆได้ว่า f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง ก็ต่อเมื่อสำหรับ x1และ xในโดเมน ถ้า 
f( x1) = f( x2) แล้ว x= x2
• ฟังก์ชันเพิ่ม ฟังก์ชันลด

ให้ f เป็นฟังก์ชันจากสับเซตของ R× R และ A Df

 f เป็นฟังก์ชันเพิ่มใน A ก็ต่อเมื่อ สำหรับสมาชิก x1 และ x2 ใดๆ ใน A

ถ้า x< xแล้ว f( x1) < f( x2)

 f เป็นฟังก์ชันลดใน A ก็ต่อเมื่อ สำหรับสมาชิก x1 และ x2 ใดๆ ใน A

ถ้า x< xแล้ว f( x1) > f( x2)

• ฟังก์ชันเชิงเส้น (linear function)
กราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นจะมีลักษณะเป็นเส้นตรง
   








• ฟังก์ชันขั้นบันได (step function)
กราฟของฟังก์ชันนี้จะมีรูปร่างคล้ายขั้นบันได

• ฟังก์ชันกำลังสอง (quadratic function)

กราฟของฟังก์ชันกำลังสองจะมีลักษณะเป็นรูปพาราโบลา

• ฟังก์ชันพหุนาม (polynomial function)

• ฟังก์ชันตรรกยะ (rational function)

• ฟังก์ชันที่เป็นคาบ (periodic function)
            f เป็นฟังก์ชันที่เป็นคาบ ก็ต่อเมื่อ มีำจำนวนจริง p ที่ทำให้ f(x+p) = f(x) สำหรับ ทุกค่าของ x และ x+p ที่อยู่ในโดเมนของ f